สารประชากร มหาวิทยาลัยมหิดล
|
ประชากรของประเทศไทย พ.ศ.2564 (ปีที่ 30: มกราคม 2564) |
ประชากรคาดประมาณ ณ กลางปี 2564 (1 กรกฏาคม) |
|
|
ชาย |
หญิง |
รวม |
1 |
จำนวนประชากรทั้งประเทศ (หน่วยเป็นพัน) |
32,176 |
34,504 |
66,680 |
2 |
จำนวนประชากรแยกตามที่อยู่อาศัย (หน่วยเป็นพัน) |
|
|
|
|
เขตเมือง (ประชากรที่อยู่ในเขตเทศบาล และเมืองทุกประเภท) |
18,809 |
20,205 |
39,014 |
|
เขตชนบท (ประชากรที่อยู่นอกเขตเมือง) |
13,367 |
14,299 |
27,666 |
3 |
จำนวนประชากรแยกตามภาค (หน่วยเป็นพัน) |
|
|
|
|
กรุงเทพมหานคร |
4,032 |
4,361 |
8,393 |
|
ภาคกลาง (ไม่รวมกรุงเทพฯ) |
9,513 |
10,172 |
19,685 |
|
ภาคเหนือ |
5,303 |
5,732 |
17,035 |
|
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ |
8,819 |
9,485 |
18,304 |
|
ภาคใต้ |
4,509 |
4,754 |
9,263 |
4 |
จำนวนประชากรแยกตามกลุ่มอายุ (หน่วยเป็นพัน) |
|
|
|
|
ประชากรวัยเด็ก (ต่ำกว่า 15 ปี) |
5,679 |
5,418 |
11,097 |
|
ประชากรวัยแรงงาน (15-59 ปี) |
21,230 |
21,841 |
43,071 |
|
ประชากรสูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) |
5,267 |
7,245 |
12,512 |
|
ประชากรสูงอายุ (65 ปีขึ้นไป) |
3,328 |
4,954 |
8,282 |
|
ประชากรก่อนวัยเรียน (0-5 ปี) |
2,170 |
2,071 |
4,241 |
|
ประชากรวัยเรียน (6-21 ปี) |
6,550 |
6,269 |
12,819 |
|
สตรีวัยเจริญพันธุ์ (15-49 ปี) |
|
16,337 |
|
5 |
อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด |
ชาย 73.5 ปี |
(จำนวนปีเฉลี่ยที่คาดว่าบุคคลที่เกิดมาแล้วจะมีชีวิตต่อไปอีกกี่ปี) |
หญิง 80.5 ปี |
6 |
อายุคาดเฉลี่ยที่อายุ 60 ปี |
ชาย 17.4 ปี |
(จำนวนปีเฉลี่ยที่คาดว่าผู้ที่อายุ 60 ปีจะมีชีวิตอยู่ต่อไปอีกกี่ปี) |
หญิง 23.2 ปี |
7 |
อายุคาดเฉลี่ยที่อายุ 80 ปี |
ชาย 6.1 ปี |
(จำนวนปีเฉลี่ยที่คาดว่าผู้ที่อายุ 80 ปีจะมีชีวิตอยู่ต่อไปอีกกี่ปี) |
หญิง 8.4 ปี |
8 |
อัตราชีพ |
|
|
|
|
อัตราเกิด (ต่อประชากรพันคน) |
|
|
10.2 |
|
อัตราตาย (ต่อประชากรพันคน) |
|
|
8.3 |
|
อัตราเพิ่มตามธรรมชาติ (ร้อยละ) |
|
|
0.2 |
|
อัตราตายทารก (ต่อการเกิดมีชีพพันราย) |
|
|
6.3 |
|
อัตราตายเด็กต่ำกว่า 5 ปี (ต่อการเกิดมีชีพพันราย) |
|
|
10.6 |
9 |
อัตราเจริญพันธุ์รวม
(จำนวนบุตรโดยเฉลี่ยที่สตรีคนหนึ่งจะมีตลอดวัยเจริญพันธุ์ของตน) |
|
1.51 |
|
10 |
อัตราคุมกำเนิด (ร้อยละ) |
|
73.0 |
|
11 |
ประชากรแฝงกลางคืน (ร้อยละ) |
|
|
10.2 |